ธงชาติไทย ไตรรงค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย

ธงชาติไทย ไตรรงค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย 

ธงชาติไทย

ธงชาติไทย ไตรรงค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย 

ธงชาติไทย หรือธงไตรรงค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย มีการใช้ธงสำหรับเป็นเครื่องหมายของกองทัพ และใช้ธงสีแดงเป็นเครื่องหมายสำหรับเรือเดินทะเลทั่วไป มีมาตั้งแต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา pgslot จะเห็นได้จากในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้กล่าวถึงเหตุการณ์นี้ในจดหมายเหตุต่างประเทศว่า 

ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่ขณะนั้นได้ปกครองกรุงศรีอยุธยา มีเรือสินค้าของฝรั่งเศสลำหนึ่งเข้ามาในกรุงศรีอยุธยา โดยปกติแล้วหากมีเรือสินค้าสำคัญ หรือมีเรือที่มากับราชทูตจะทำการผ่านเข้าเมืองจะต้องมีธรรมเนียมประเพณี คือ ชักธงประเทศของนั้นๆขึ้นบนเรือ เพื่อแสดงสัญลักษณ์ว่า มาถึงแล้ว และในเหตุการณ์นี้เมื่อเรือฝรั่งเศสมาภึงกรุงศรีอยุธยาได้ทำการชักธงชาติของตัวเองขึ้น ฝ่ายสยามยิงสลุตคำนับตามธรรมเนียม

 ในขณะเดียวกันฝ่ายสยามเองก็ต้องชักธงของตนเองขึ้นด้วยเพื่อตอบกลับว่า ยินดีต้อนรับ แต่ ณ ตอนนั้นทหารประจำป้อมวิไชยเยนทร์ไม่เคยพบประเพณีเข่นนี้มาก่อน และสยามไม่มีธงสัญลักษณ์ที่ใช้เป็นธงชาติ ทหารประจำป้อมเลยคว้าเอาผ้าที่วางอยู่แถวนั้นขึ้นมาแทน แต่ผ้าที่หยิบขึ้นมานั้นดันธงชาติฮอลันดาที่เป็นศัตรูของฝรั่งเศส ณ ขณะนั้น

ทดลองเล่นสล็อต

รีวิวเกมสล็อต

 เมื่อทหารฝรั่งเศสได้เห็นก็ไม่ยอมชักธงและไม่ยอมยิงสลุต ฝ่ายสยามจึงได้ทำการแก้ปัญหาโดยชักผ้าสีแดงขึ้นแทนธงชาติฮอลันดา ฝรั่งเศสจึงยอมยิงสลุตคำนับตอบ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ธงชาติไทย

ในอดีตนั้นประเทศไทยได้มีการใช้ธงชาติหลากหลายรูปแบบ จะเห็นได้จากในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 1- รัชกาลที่ 2 ) ทั้งเรือหลวงและเรือค้าขายของเอกชนต่างพากันใช้ธงสีแดงล้วนเป็นเครื่องหมายของเรือสยาม จึงทำให้ได้มีการนำสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาประดับบนธงเพิ่มเติมขึ้น เพื่อใช้เป็นธงสำหรับเรือหลวง

 ในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้เพิ่มรูปจักรสีขาวลงในธงแดง JOKER สำหรับใช้เป็นธงของเรือหลวง สาเหตุที่พระองค์กำหนดให้ใช้ จักรสีขาวลงไว้กลางธงผ้าพื้นแดงสำหรับชักในเรือกำปั่นหลวงนั้น คือ เพื่อแสดงความแตกต่างระหว่างเรือของพระมหากษัตริย์กับเรือของราษฎรสยาม ที่ใช้ธงผ้าพื้นแดงล้วน

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 พระองค์ได้รับช้างเผือกเอก 3 เชือก คือ พระยาเศวตกุญชร พระยาเศวตไอยรา และพระยาเศวตคชลักษณ์ 

ที่นับเป็นเกียรติยศยิ่งและบุญบารมีต่อแผ่นดิน พระองค์จึงได้ให้เพิ่มรูปช้างเข้าภายในวงจักรสีขาวของเรือหลวงไว้ด้วย ซึ่งมีความหมายว่า พระเจ้าแผ่นดินอันมีช้างเผือก แต่ธงช้างอยู่ในวงจักรสามารถใช้ได้แต่เพียงเรือหลวงเท่านั้น เรือพ่อค้าและเรือราษฎรยังคงใช้ธงแดงล้วนตามเดิม

ในสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยได้มีการทำสนธิสัญญากับชาติตะวันตกมากขึ้น เป็นผลต่อเนื่องจากมาจากการทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับสหราชอาณาจักรใน พ.ศ. 2398 พระองค์มีคำสั่งว่า ธงพื้นสีแดงล้วนที่สยามใช้ทั่วไปนั้นได้ไปซ้ำกับประเทศอื่น 

สยามจึงจำเป็นที่จะต้องมีธงชาติใช้เป็นของตัวเอง 

พระองค์จึงได้ให้ใช้ธงพื้นสีแดงที่มีรูปช้างเผือกอยู่ตรงกลางเป็นธงชาติสยาม PG SLOT แต่เอารูปจักรออก เพราะให้เหตุผลว่า จักรเป็นเครื่องหมายเฉพาะของพระมหากษัตริย์ ธงพื้นสีแดงที่มีรูปช้างเผือกอยู่ตรงกลางได้ให้ใช้ได้ทั่วไปทั้งเรือหลวงและเรือเอกชน แต่เรือหลวงนั้นทรงกำหนดให้ใช้พื้นเป็นสีน้ำเงินขาบชักขึ้นที่หัวเรือ เพื่อเป็นเครื่องหมายสำหรับแยกแยะว่าเป็นเรือหลวงด้วย ธงนี้มีชื่อว่า ธงเกตุ (ต่อมาได้วิวัฒนาการมาเป็นธงฉานของกองทัพเรือไทยในปัจจุบัน) ธงชาติไทย

ธงพื้นแดงที่มีรูปช้างเผือกอยู่ตรงกลางได้ใช้เป็นธงชาติสยามนานถึง 84 ปี ระยะเวลารวม 4 รัชกาล จนในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2459

 รัชกาลที่ 6 ได้เสด็จไปยังวัดเขาสะแกกรัง ปัจจุบัน คือ วัดสังกัสรัตนคีรี ในเมืองอุทัยธานี ในขณะนั้นได้ประสบเหตุอุทกภัย และในยุคนั้นธงช้างถือว่าเป็นของหายาก มีราคาที่แพง เพราะต้องสั่งทำจากต่างประเทศ และธงช้างที่มีขายบางแบบนั้นผลิตมาจากประเทศที่ไม่รู้จักช้าง ทำให้รูปร่างของช้างที่ปรากฏบนธงนั้นไม่สวยงาม แต่ถึงจะเป็นเช่นนั้นก็ยังมีราษฎรคนหนึ่งที่ตั้งใจรอรับเสด็จหาธงช้างมาได้ แต่ด้วยความประมาททำให้ประดับธงผิดด้าน กลายเป็นประดับกลับหัว

 ซึ่งเป็นการสื่อเจตนาที่เสื่อมเสียแก่พระเกียรติยศ เนื่องจากเป็นลักษณะของช้างเผือกล้ม แสดงให้เห็นเป็นลางร้ายได้ว่าพระมหากษัตริย์อาจเสด็จสวรรคตเร็วกว่าปกติ พระองค์เห็นเหตุการณ์ดังกล่าวนั้นแล้ว จึงมีคำสั่งว่า ธงชาติจะต้องมีรูปแบบที่สมมาตร และราษฎรสามารถทำใช้เองได้จากวัสดุภายในประเทศ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นอีก รัชกาลที่ 6 จึงให้เปลี่ยนรูปแบบธงชาติ เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบยาวสีแดง 3 แถบ สลับกับแถบสีขาว 2 แถบ ซึ่งเหมือนกับธงชาติไทยในปัจจุบัน แต่มีเพียงสีแดงสีเดียว ซึ่งธงนี้เรียกว่า ธงแดงขาว 5 ริ้ว  ธงชาติไทย

แต่สำหรับหน่วยงานราชการของสยามยังคงใช้ธงช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ สล็อต แต่เป็นแบบทรงเครื่องยืนแท่น ซึ่งแต่เดิมธงนี้เป็นธงสำหรับเรือหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 และมีฐานะเป็นธงราชการอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2453

ในปี พ.ศ. 2460 แถบสีแดงที่ตรงกลางธงค้าขายได้เปลี่ยนเป็น สีขาบ คือ สีน้ำเงินเข้มเจือม่วง ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เหตุผลที่เพิ่มสีขาบลงในธงชาติสยามนั้น มาจากการที่ได้เห็นบทความแสดงความคิดเห็นของผู้ใช้นามแฝงว่า อแคว์ริส ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพฯ เดลิเมล์ ภาษาอังกฤษ ฉบับวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2460 ได้ระบุว่า ธงชาติสยามแบบใหม่ที่ทดลองใช้อยู่ในเวลานั้น คือธงแดงขาว 5 ริ้ว ซึ่งกำหนดให้ใช้เป็นธงค้าขาย ยังมีลักษณะที่ไม่สง่างาม

 และได้เสนอแนะว่าริ้วกลางของธงควรเพิ่มสีน้ำเงินขาบลงไปอีกสีหนึ่ง ด้วย เพราะว่าสีน้ำเงินขาบเป็นสีส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ เนื่องจากสีม่วงเป็นสีประจำของรัชกาลที่ 6 เพราะเกิดในวันเสาร์ ทำให้สีน้ำเงินเข้มมีสีม่วงเจือเข้าไปกลายเป็นสีน้ำเงินขาบ เมื่อเปลี่ยนแปลงเช่นนี้แล้วธงชาติสยามก็จะเป็นธงสามสีในทำนองเดียวกันกับธงชาติของประเทศฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 

น่าจะทำให้ทั้งสามประเทศพอใจประเทศสยามยิ่งขึ้นเพราะว่าเหมือนได้ยกย่องชาติเหล่านั้น การมีสีของสถาบันพระมหากษัตริย์ในธงชาติ จะเป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระองค์ในวาระที่ชาติสยามเข้าสู่เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้รัชกาลที่ 6 จึงได้ให้พระยาศรีภูริปรีชา เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ร่างประกาศแก้แบบธงชาติ Ufabet และได้ประกาศใช้ตามความในธงพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธง พระพุทธศักราช 2460 เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2460 ธงชาติไทย

ธงชาติแบบใหม่นี้ได้แสดงต่อสายตาชาวโลกครั้งแรก

ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งกองทหารอาสาของไทยได้ใช้เชิญไปเป็นธงไชยเฉลิมพลประจำหน่วย อย่างไรก็ตาม ธงไตรรงค์ที่สร้างขึ้นสำหรับกองทหารอาสาในสงครามโลกครั้งที่ 1 นั้น ไม่ใช่ลักษณะอย่างธงไตรรงค์ตามที่กำหนดให้ใช้ในปัจจุบันและโดยทั่วไป แต่มีการเพิ่มรูปสัญลักษณ์พิเศษลงในธงด้วย ด้านหน้าธงจะเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นในวงกลมพื้นสีแดง ด้านหลังเป็นตราพระปรมาภิไธยย่อ 

ร.ร. ๖ สีขาบ ภายใต้พระมหามงกุฎเปล่งรัศมีสีเหลืองในวงกลมพื้นสีแดง ที่แถบสีแดงทั้งแถบบนแถบล่างทั้งสองด้านจารึกพุทธชัยมงคลคาถาบทแรก (ภาษาบาลี) เพื่อความเป็นสิริมงคลให้แก่กองทหารอาสาของไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1

การเปลี่ยนธงชาติสยามจากธงช้างเผือกมาสู่ธงไตรรงค์นั้นมีผู้ที่เสียดายธงช้างเดิมอยู่ไม่น้อย เนื่องจากธงช้างเผือกเป็นธงชาติสยามที่ต่างประเทศรู้จักกันทั่วไปมาเป็นเวลาช้านานแล้ว และธงไตรรงค์นั้นก็มีลักษณะที่คล้ายกับธงชาติของประเทศอื่นบางประเทศ อาจทำให้เกิดความสับสนแก่ผู้พบเห็นได้

ในปี พ.ศ. 2470 รัชกาลที่ 7 จึงทรงมีพระราชดำริว่า 

ธงชาติไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้งแล้ว ควรหาข้อกำหนดเรื่องธงชาติให้เป็นการถาวร จึงได้ให้มีการทำรายงานไปยังองคมนตรี เพื่อให้เสนอความเห็นของคนหมู่มากว่าจะคงใช้ธงไตรรงค์ที่ใช้อยู่ในขณะนั้นเป็นธงชาติต่อไป หรือจะกลับไปใช้ธงช้างแทน  ธงชาติไทย

หรือจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงลักษณะธงชาติ กับวิธีใช้ธงไตรรงค์อย่างไรนอกจากนี้ยังได้ให้กรมราชเลขาธิการตัดข่าวจากหนังสือพิมพ์เพื่อรวบรวมความเห็นต่าง ๆ ของสาธารณชนเกี่ยวกับธงชาติเพื่อประกอบพิจารณาด้วย ผลปรากฏว่าความเห็นขององคมนตรีแตกต่างกระจายกันมาก จึงไม่ได้กราบบังคมทูลข้อชี้ขาด ดังนั้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ 

ให้มีพระบรมราชวินิจฉัยลงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 ให้คงใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติต่อไป และได้มีการให้ความหมายของธงที่กระชับกว่าเดิม คือ สีแดงหมายถึงชาติ สีขาวหมายถึงพระพุทธศาสนา สีน้ำเงินหมายถึงพระมหากษัตริย์ ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ไปเล็กน้อย แต่ยังครอบคลุมอุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงกำหนดไว้เช่นเดิม

 และยังเป็นที่จดจำสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 รัฐบาลต่าง ๆ ยังคงรับรองฐานะของธงไตรรงค์ให้เป็นธงชาติของสยามต่อไป โดยมีการตราพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2479 เป็นกฎหมายรับรองฐานะของธงไตรรงค์ และหลังจากการเปลี่ยนชื่อประเทศซึ่งทำให้ธงชาติสยามถูกเปลี่ยนชื่อเป็นธงชาติไทย

ในปี พ.ศ. 2482 

รัฐบาลต่าง ๆ ก็ยังคงรับรองให้ใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีการตราพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายรับรองฐานะของธงไตรรงค์ ซึ่งพระราชบัญญัติธงทั้งสองฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงถ้อยความบรรยายลักษณะธงชาติในพระราชบัญญัติธงใหม่ให้ชัดเจนขึ้น แต่ยังคงรูปแบบธงตามที่ได้บัญญัติไว้ครั้งแรกในพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธง พุทธศักราช 2460 ไว้ดังเช่นเดิม

และวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559 ในการประชุมคณะรัฐมนตรี ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบให้วันที่ 28 กันยายน ของทุกปีเป็น วันพระราชทานธงชาติไทย โดยให้เริ่มในปีครบรอบ 100 ปี ธงชาติไทย ในปี พ.ศ. 2560 เป็นปีแรก แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการรวมทั้งกำหนดให้มีการชักธงและประดับธงชาติไทยในวันดังกล่าวด้วย เพื่อเป็นการสร้างความภาคภูมิใจของคนในชาติ 

และน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)

อ่านบทความที่น่าสนใจเพิ่มเติม booking ตัวเลือกที่พักหลากหลายประเภท

สล็อต ฝาก-ถอน อัตโนมัติ

ระบบ ฝาก – ถอน อัตโนมัติ เพียง 3 วินาที เป็นระบบที่เราพัฒนามา เพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย ให้กับทุกท่าน ได้สามารถ ฝาก – ถอน และสมัคร ได้รวดเร็วทันใจมากยิ่งขึ้น ไม่ต้องส่งสลิปให้เสียเวลาอีกต่อไป กรอกข้อมูลส่วนตัวเรียบร้อย แล้วจะได้รับรหัส สามารถฝากยอด และเข้าเล่นเกมได้เลย หรือเข้าไป ทดลองเล่นสล็อต ก่อน และดูรีวิวเกม ได้ที่ รีวิวเกมสล็อต

โปรโมชั่น SLOT

โปรโมชั่น PG SLOT ของเรามีโปรโมชั่นมากมาย ที่จะพา นักพนัน ทุกท่าน รวยไปด้วยกัน สำหรับ นักพนันสล็อต ตัวจริงที่ต้องห้ามพลาด กับโปรที่เราจะนำเสนอให้ท่านได้เลือกกัน มี โปรดีดีสุดพิเศษ ตั้งแต่เริ่มสมัครกันเลย ยินดีตอนรับ นักล่าเงินรางวัล สู่ เกมสล็อต กับโปรโมชั่นเมื่อท่านฝากครั้งแรกก็ รับโบนัส 50% ฟรี!! โดยรับสูงสุด 500 บาท เพียง สมัคร และฝากครั้งแรกขั้นต่ำ 100 บาท ก็สามารถรับสิทธ์ โปรโมชั่น นี้ไปเลยทันที ซึ่งจะทำให้ท่านได้เพลิดเพลินอย่าเต็มที่ และเว็บเรา ปลอดภัย 100% ไม่มีการโกงแน่นอน!

ลืม เกมสล็อต ในรูปแบบเดิมไปได้เลย เมื่อท่านได้รู้จักกับ PGSLOT เกมสล็อตออนไลน์ ในรูปแบบที่ไม่เคยมีที่ไหนมาก่อน ส่งตรงมาจาก ประเทศอังกฤษ และได้รับ ความนิยม มาอย่างต่อเนื่อง ในตัวเกมมี อนิเมชั่น ที่ทำออกมาได้อย่างสวยงาม น่าสนใจ และไม่เหมือนไคร และยังมีค่ายเกมที่น่าสนใจ อย่าง JOKER , EPICWIN , SLOTXO , UFABET สะดวกมากขึ้นเพราะ สามารถเล่นผ่าน มือถือ ได้เลย พบปัญหา สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ ได้เลย ตลอด 24 ชั่วโมง ขอให้นักพนันทุกท่าน สนุกไปกับ เกมสล็อตออนไลน์ ของเรา ร่ำรวย เฮง เฮง นะคะ ^^

อัพเดทล่าสุด : 26 พฤษภาคม 2021 15:33 น.