รู้หมด ใครแอบดู เฟสบุ๊ค เรา ด้วยวิธีง่ายๆ
รู้หมด ใครแอบดู เฟสบุ๊ค เรา ด้วยวิธีง่ายๆ
เฟสบุ๊ค เป็นช่องทาง การติดต่อ สื่อสาร อันดับหนึ่ง ของโลกโซเชียล เราจะทราบข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ของเพื่อนๆได้ เพียงแค่คุณ มีอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเล่นเฟสบุ๊คได้ทั้งในคอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์ของคุณ สำหรับใคร ที่กำลังสงสัยว่า ตอนนี้กำลังมี ใครแอดส่องเฟสเรา หรือเปล่านั้น วันนี้เรามีวิธีที่ จะทำให้คุณรู้ได้ว่า ใครกำลังแอบส่องเฟส คุณบ้าง จะเป็นอย่างไรนั้น ไปติดตามกันเลย PGSLOT
จะดูว่าใครแอบดู เฟสบุ๊ค เราได้อย่างไร
เชื่อว่าหลาย คนคงเคยสงสัยว่า จะทำอย่างไรดีเมื่ออยากรู้ว่าคนนั้นคนนี้แอบมาส่องเราหรือไม่ แล้วการที่เราแอบไปดูคนอื่นเขาจะรู้หรือไม่ บอกได้เลยว่าสามารถเช็คได้ว่า มีใครมาแอบดูเฟสบุ๊คของเราหรือไม่ หรือใครที่แอบมาแชทกับเราหรือไม่ โดยสามารถทำตามขั้นตอนต่างๆดังต่อไปนี้
1.ให้เพื่อนๆ เปิดหน้าวอลเฟสของตัวเองขึ้นมา

2.เสร็จแล้วให้เพื่อนๆ คลิกช่อง ค้นหา คำว่า Social Addict Check

3.จากนั้นให้เพื่อนๆ กดเข้า ” ไปยังแอพ ” จากนั้นก็กด ให้มันอนุญาติเข้าถึงข้อมูลของเรา

มันก็จะขึ้นหน้าตาหน้าตาแบบข้อ 3 ช่องบนก็จะเป็นเช็คว่าใครที่เข้ามาส่องเราเยอะ กับเข้ามาคุยแชทเฟสกับเรามาก เราจะสังเกตง่าย ระหว่าง คนที่เราคุยแชทกับไม่แชท คนที่เราไม่เคยเห็นมาคุยด้วยเลยนี้คือเข้ามาส่องแล้วก็อาจจะทำเนียนเป็นกดไลค์ ส่วนช่องล่าง เช่น ถ้าเราอยากรู้ว่าแฟนเราเล่นเฟสไปส่องเฟส กดไลค์ ใคร แนะนำช่องล่าง EPICWIN
เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 โดยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก และเพื่อนร่วมห้องภายในมหาวิทยาลัย และเหล่าเพื่อนในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พร้อม
โดยสมาชิกเพื่อนผู้ก่อตั้ง Eduardo Saverin, Andrew McCollum, Dustin Moskovitz และ Chris Hughes ในท้ายที่สุดเว็บไซต์มีการเข้าชมอย่างจำกัด ทำให้เหล่านักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด แต่ภายหลังได้ขยายเพิ่มจำนวนในมหาวิทยาลัย
ในพื้นที่บอสตัน ไอวีลีก และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และค่อยๆ รับรองมหาวิทยาลัยอื่นต่างๆ และต่อมา ก็รับรอง โรงเรียนมัธยมศึกษา โดยเฟซบุ๊ก ให้การอนุญาต ให้เยาวชน อายุต่ำกว่า 13 ปีทั่วโลกสามารถ สมัครสมาชิกได้ ภายในเว็บไซต์ โดยไม่ต้อง อ้างอิงหลักฐานใด ๆ
อย่าติด เฟสบุ๊คมากเกินไป ไม่งั้นจะ…
การติดตามข่าวสารต่างๆ หรือการติดต่อสื่อสารในยุคสมัยนี้สามารถติดตามผ่านได้ทั้งทาง เฟสบุ๊ค ไอจี ไลน์ โดยผ่านทางสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ สิ่งเหล่านี้บอกได้เลยว่ามีบทบาทสำคัญกับชีวิตของเรามาก เพราะทั้งการติดต่อสื่อสาร
หรือติดตามข่าวสารต่างๆ แต่ทุกอย่างก็มีทั้งด้านดีและด้านไม่ดี วันนี้มาดูกันว่าโรคที่มักจะพบในกลุ่มคนนที่ติดสื่อออนไลน์เหล่านี้มีอะไรกันบ้าง
1.สมาร์โฟนเฟซ(Smart)
คือโรคที่ใบหน้ามีลักษณะคล้ายสมาร์ทโฟน เกิดจากการหย่อนของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าทำให้แก้มเกิดการย้อย และกล้ามเนื้อตรงมุมปากก็จะหย่อนไปบริเวณคาง ส่วนสาเหตุของโรคนี้ก็คือการที่เราก้มดูสมาร์ทโฟนนานเกินไป จนทำให้กล้ามเนื้อตรงคอมีการเกร็งและไปเพิ่มแรงกดตรงแก้ม จึงทำให้มีอาการเหมือนที่กล่าวมา
2.โนโมโฟเบีย(Nomophobia)
คือโรคกลัวไม่มีมือถือไว้ติดต่อสื่อสาร หรือหงุดหงิดวิตกกังวลเวลาที่มือถือไม่มีสัญญาน ซึ่งถูกจัดเป็นโรคทางด้านจิตเวชเพราะผู้ป่วยจะมีวิตกกังวลมากเกินไป
อาการทั่วไปก็คือ เครียด หงุดหงิด วิตกกังวล มือสั่น ใจสั่น เวลาที่ไม่มีโทรศัพท์หรือแบตหมด รวมไปถึงอาการที่ชอบดูมือถือ แชทส่งข้อความหรือโพสข้อความตลอดเวลา เพราะกลัวพลาดการอัพเดตข้อมูลต่างๆ
โดยปัจจุบันพบว่าคนทั่วโลกเป็นโรคนี้เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ในประเทศไทยประมาณครึ่งหนึ่งของวัยรุ่นติดสมาร์ทโฟน จากที่กล่าวมาถ้าใครมีอาการมากก็ควรปรึกษาแพทย์เพื่อทำการรักษา
3.โรควุ้นตาเสื่อม
บางคนต้องทำงานอยู่กับคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟนเป็นเวลานานๆ วันละหลายๆ ชั่วโมงต่อวัน คนเหล่านี้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะวุ้นในตาเสื่อม จากการสำรวจในปัจจุบันพบว่าคนไทยเป็นโรควุ้นในตาเสื่อมถึง 14 ล้านคน PG SLOT
โรคนี้แต่ก่อนจะพบเฉพาะในวัยสูงอายุ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าสามารถพบได้ทุกวัยเนื่องจากโรคนี้มักเกิดกับคนที่ใช้สายตามากเกินไป อาการส่วนใหญ่คือจะมองเห็นภาพเป็นคราบสีดำ คล้ายๆ หยากไย่แมงมุม ซึ่งจะเห็นได้ชัดขึ้นเมื่อมองไปที่พื้นสีสว่างๆ ผนังห้องขาวๆ
วิธีบริหารสายตาให้หลับตา แล้วกรอกตาไปมา ซ้าย ขวา บน ล่าง หลังจากนั้นหลับตาซัก 5 นาที อย่าลืมไปสูดอากาศผ่อนคลายและมองอะไรสีเขียวๆ
4.ละเมอแชท(sleep-texting)
เป็นโรคเกิดขึ้นใหม่จากการใช้สมาร์ทโฟน และเป็นโรคที่ก่อกวนคุณได้แม้ขณะนอนหลับ จากการศึกษาในต่างประเทศพบว่าเป็นอาการที่พบในคนที่ติดมือถือขั้นรุนแรง โดยอาการนี้จะเกิดขึ้นแม้ขณะหลับ โดยเมื่อได้ยินเสียงข้อความ ร่างกายจะตอบสนองโดยการหยิบสมาร์ทโฟนมาพิมพ์ข้อความตอบกลับไป
ซึ่งผู้ใช้อาจอยู่ในสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น และทำให้จำอะไรไม่ได้ตอนที่ตื่นขึ้นมา และข้อความที่ส่งมาจะเป็นข้อมความที่จับใจความไม่ได้ และปัญหาที่มักจะพบตามมาก็คือ ร่างกายอ่อนแอจากการที่พักผ่อนไม่เพียงพอ อาจทำให้เกิดโรคอ้วนหรือส่งผลกระทบต่อการเรียน
5.โรคซึมเศร้าจาก เฟสบุ๊ค
มีการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกน โดยศาสตราจารย์ อีธาน ครอสส์ ได้เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 82 คน ซึ่งใช้สมาร์ทโฟนเป็นประจำ พบว่าการใช้เฟสบุ๊คมากเกินไปส่งผผลต่อสภาวะอารมณ์ เช่น เศร้า โดดเดี่ยว เหงา
โดยส่วนใหญ่คนจะใช้เฟสบุ๊คในการระบายอารมณ์ โดยเฉพาะเมื่อรู้สึก เหงาหรือว้าเหว่ โดยมีงานวิจัยจากประเทศเยอรมัน ระบุว่า 1 ใน 3 ของคนที่เล่นเฟสบุ๊คเป็นประจำ จะมีทัศนคติด้านลบต่อตัวเองเนื่องจากเห็นสเตตัสของเพื่อน ทั้งในการทำงาน การท่องเที่ยว ด้านชีวิตส่วนตัวมีความสำเร็จและมีความสุข ใครที่เริ่มรู้สึกเศร้าควรออกห่างจากเฟสบุ๊คหรือลดระยะเวลาการเล่นเฟสบุ๊ค
อย่างที่กล่าวมากทุกอย่างมันมักจะมีสองด้าน ถ้าเราใช้ให้ถูกวิธีสิ่งนั้นก็จะมีประโชยน์ แต่ถ้าเราใช้ผิดวิธีหมกมุ่น เล่นทั้งวัน ก็จะส่งผลเสียให้แก่เราได้ ถ้าหากติดสมาร์ทโฟนวิธีแก้ง่ายๆ ก็คือ จำกัดเวลาการเล่นของตัวเอง หางานอดิเรกอย่างอื่นทำร่วมด้วย อย่าไปจดจ่อกับสื่อออนไลน์มากนัก แล้วก็อย่าลืมใส่ใจทุกอย่างที่อยู่รอบตัวของเราในชีวิตจริงด้วย
เป็นอย่างไรกันบ้างกับวิธีที่จะใช้ดูว่าใครส่องเฟสบุ๊คเราบ้าง อย่าลืมเอาไปใช้กันนะ นอกจากนี้เรายังแถม สาระความรู้ เอาไว้ให้ท่านไว้อ่าน เพื่อเตือนสติกัน ไม่ให้อยู่กับโซเชียลมากเกินไป ไม่งั้นอาจส่งผลอันตรายต่อร่างกายของคุณได้
>>> เกม สล็อต ที่น่าสนใจ PG SLOT คลิก SLOT <<<
อ่านบทความน่าสนใจ ถัดไป >> ยูทูป
อัพเดทล่าสุด : 5 สิงหาคม 2020 18:12 น.