สิ่งที่ต้องรู้เมื่อเป็นหนี้ กยศ. ต้องทำยังไง
สิ่งที่ต้องรู้เมื่อเป็นหนี้ กยศ. ต้องทำยังไง
สวัสดีค่ะทุกคน กลับมาพบกัน PGSLOT อีกครั้งนะคะ วันนี้แอดมินจะพาทุกคนมาทำความเข้าใจกับประเด็นที่ค่อนข้างมีสาระกันนิดนึงนะคะ และ เป็นเรื่องที่สำคัญ มากๆ เลยนะคะ สำหรับ บุคคลที่กำลังกู้ยืมเงิน กยศ. หรือ กำลังคิดที่จะกู้ หากท่านกู้ไปแล้ว ต้องรู้อะไรบ้างหลังจากนี้ ใครจะได้รับผลกระทบตรงนี้ ไปติดตามกันได้เลยค่ะ
จะเห็นได้ว่าช่วง ที่ผ่านมาเกิด ประเด็นเกี่ยวกับ กองทุนเงิน ให้กู้ยืม เพื่อการศึกษามา เป็นระยะ โดยเฉพาะเรื่อง ของการผิดนัดชำระ ลูกหนี้ เก่าที่เรียนจบจน มีงานทำ แต่กลับ ไม่มาชำระหนี้ ตามสัญญา ส่งผลให้ ที่ผ่านมีผู้ค้ำประกัน จำนวนหลายรายได้รับความเดือดร้อน จะต้องรับผิดชอบ แทนจนบางราย ถึงขั้นถูกยึดทรัพย์ อีกทั้งกองทุน ยังขาดสภาพคล่อง จึงต้องมีกา รปรับเปลี่ยน หลักเกณฑ์การชำระหนี้ใหม่

มาตรการจูงใจให้ผู้กู้ยืมชำระหนี้
โดยกลุ่มผู้กู้ยืมปกติที่ไม่เคยผิดนัดชำระหนี้ หรือผู้กู้ยืมที่อยู่ในช่วงปลอดหนี้ หากมาชำระหนี้ปิดบัญชีจะได้รับการลดหย่อนเงินต้น 3% ณ วันที่ชำระหนี้ปิดบัญชี ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ขณะที่มาตรการจูงใจให้ผู้กู้ยืมมาชำระหนี้ปิดบัญชีเพิ่มเติม สำหรับผู้กู้ยืมที่ผิดนัดชำระหนี้ทุกราย โดยจะลดเบี้ยปรับให้ 85% ของเบี้ยปรับ ณ วันที่ชำระหนี้ปิดบัญชี ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2561 – 31 พฤษภาคม 2562 เท่านั้น pgslot

มาตรการทวงหนี้ขั้นเด็ดขาด
อีกหนึ่งมาตรการใหม่ที่เริ่มใช้ในวันที่ 28 ก.พ.นั่นคือ จะเริ่มหักบัญชีเงินเดือนของลูกหนี้ กยศ. ที่สังกัดหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนขนาดใหญ่ 20 แห่ง ธนาคารพาณิชย์ และเจ้าหน้าที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) แบบอัตโนมัติเป็นเดือนแรก ซึ่งจะมีหนี้ชำระ เข้ามาได้ถึงเดือนละ 200 ล้านบาท และทำให้ตลอดทั้งปี 2562 มียอดชำระหนี้ได้ทั้งหมดได้เกินกว่า 3 หมื่นล้านบาท สูงกว่าปีก่อนที่ได้ 2.6 หมื่นล้านบาทเกือบถึง 20%
สำหรับวิธีการหักเงินเดือนเพื่อใช้หนี้ จะมีการนำหนี้ที่ต้องชำระต่อปี มาหารเฉลี่ยหักเท่ากันเป็นประจำทุกเดือน

วิธีการชำระหนี้
ผู้กู้ยืมต้อง ติดต่อชำระเงินคืน ตามกำหนดภายในวันที่ 5 กรกฎาคมของทุกปี หากล่าช้าจะทำให้ ผู้กู้ยืมต้องเสียเบี้ย ปรับกรณี ผิดนัดชำระหนี้ ในอัตราร้อยละ 12-18 ต่อปี และผู้กู้ยืมและผู้ค้ำประกัน อาจถูกฟ้องร้อง ดำเนินคดีตามกฎหมาย EPICWIN ซึ่งปัจจุบันผู้กู้ยืมสามารถ ชำระเงิน คืนกองทุนได้สะดวกมาก ขึ้นผ่านช่องทางที่ให้บริการรับชำระหนี้ทั่วประเทศ ด้วยรหัสการชำระเงิน (Barcode) โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. เข้าตรวจสอบยอดหนี้ทางเว็บไซต์ www.studentloan.or.th ณ วันที่ประสงค์ชำระเงิน
2. ดูรายละเอียดข้อมูลบัญชีผู้กู้
3. ดูยอดหนี้ที่จะต้องชำระรวมในงวด 5 ก.ค. 2560
4. พิมพ์รหัสการชำระเงิน (Barcode)
5. นำเงินไปจ่ายชำระที่ไปรษณีย์ไทย เคาน์เตอร์เซอร์วิส และธนาคารที่กองทุนกำหนด ได้แก่ บมจ. ธนาคารกรุงไทย ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ธนาคารทหารไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ทั้งนี้ ทางกองทุนกำลังทยอยเพิ่มช่องทางเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้กู้ยืมทั่วประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงกองทุนยังมีบริการแจ้งเตือนทาง SMS และ/หรือ e-Mail สำหรับผู้กู้ยืมที่ครบกำหนดชำระหนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งผู้กู้ยืมสามารถลงทะเบียนสมัครใช้บริการได้ทางเว็บไซต์ กยศ.

กยศ หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติในการดำเนินคดีผู้กู้ยืม
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาอาจจะจัดให้มีโครงการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดี โดยให้ลูกหนี้เข้าร่วมโครงการตามรายละเอียดดังนี้
- ทำสัญญาประนีประนอมยอมความก่อนฟ้องคดี
- ทำคำรับรองขอชำระหนี้ที่ค้างภายในระยะเวลาที่กองทุนกำหนด
- ทำหนังสือรับสภาพหนี้ (เพื่อไม่ให้ถูกดำเนินคดี)
- มีหนังสือบอกเลิกสัญญากู้ยืมและให้ชำระหนี้ทั้งหมดภายในเวลาที่กำหนด
- ลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ติดต่อกันนาน 4 ปีขึ้นไป และไม่ได้เข้าร่วมโครงการไกล่เกลี่ยหนี้ก่อนฟ้องคดีที่กองทุนฯจัดขึ้น กองทุนฯ จะอนุมัติให้ทนายความดำเนินคดีกับผู้กู้ยืมต่อไป โดยทนายความจะยื่นฟ้องผู้กู้ยืมและผู้ค้ำประกันต่อศาล โดยจะยื่นฟ้องเป็นคดีแพ่งต่อศาลที่ผู้กู้ยืมมีภูมิลำเนาที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
คดีส่วนมากจะเป็นคดีมโนสาเร่ คือ มีทุนทรัพย์ PG SLOT ยอดหนี้ ณ วันฟ้อง ทั้งต้นเงิน ดอกเบี้ย และเบี้ยปรับ รวมกันไม่เกิน 300,000 บาท เมื่อศาลประทับรับฟ้องแล้ว ศาลจะมีหมายเรียกพร้อมส่งสำเนาคำฟ้องให้จำเลย โดยแจ้งกำหนดวันนัดให้จำเลยไปศาลเพื่อยื่นคำให้การแก้คดี หรือเพื่อไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (ทำสัญญาประนีประนอมยอมความหลังฟ้อง)
ซึ่งท้ายที่สุดแล้วหากลูกหนี้ไม่มาดำเนินการตามสัญญาอีก ก็จะต้องเข้าสู่ขั้นตอนการบังคับคดี คือจะมีกระบวนการสืบทรัพย์ของผู้กู้ และผู้ค้ำประกันว่ามีทรัพย์สินหรือไม่ จากนั้นจะทำการยึดทรัพย์ทันที

ผู้ค้ำประกัน โดนทวงหนี้ด้วย
ผู้กู้ทุกคนมีคนค้ำประกันให้ เพราะตอนกู้ยังเป็นนักเรียน และถ้าผู้กู้คนนั้นเบี้ยวหนี้ใช้วิธีนินจาหายไป คนที่ซวยเสมือนเป็นผู้กู้ด้วยก็คือผู้คำประกัน ซึ่งในสัญญาระบุไว้ว่า ผู้ค้ำประกันจะต้องชดใช้ให้กับ กยศ. ประหนึ่งเป็นผู้กู้เงินไปใช้เอง ซึ่ง…ถ้าตามผู้กู้ไม่เจอ คนค้ำก็ซวยสถานเดียวชดใช้ไปเต็มๆ
ยกเว้นคนที่ค้ำประกันตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2558 ขึ้นไป มีกฎหมายฉบับใหม่ที่คุ้มครองผู้ค้ำประกันออกมาคือผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดชอบเสมือนผู้ค้ำ และผู้ให้กู้ต้องไปตามลูกหนี้ให้เจอก่อนอย่างสุดความสามารถ ถึงค่อยมาไล่บี้กับผู้ค้ำประกันอีกที
อย่างไรก็ตามคนที่ค้ำประกันเขาก็อยากจะให้คนกู้เรียนไปจนจบ และมีงานทำ มีชีวิตที่ดี ไม่ได้หวังว่าจะมีส่วนได้ส่วนเสียกับเงินของท่าน ดังนั้นถ้าไม่อยากให้คนค้ำประกันเดือดร้อนก็ ไปจ่ายเถอะ
สำหรับ คนที่เป็นหนี้ และอยากจะรู้ว่าตอนนี้สถานะเป็นอย่างไร มียอดเงินคงเหลือเท่าไหร่ โดนค่าปรับไปเท่าไหร่ และจ่ายเงินยังไงบ้าง สามารถทำได้สองวิธีคือ
ติดต่อไปที่ธนาคารที่เรากู้ซึ่งก็คือธนาคารกรุงไทย หรือธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย แล้วแจ้งว่าจะชำระเงินกู้ ถ้าไม่มีใบแจ้งหนี้ก็ยื่นบัตรประชาชนไปเท่านั้น จบเลย
เข้าไปที่เว็บ กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา แล้วสมัครสมาชิกตามขั้นตอนของผู้กู้แล้วสามารถเช็คยอดเงินคงค้างได้ว่าเหลือเท่าไหร่ งวดต่อไปจ่ายอีกเท่าไหร่ และสามารถสแกน QR Code เพื่อจ่ายผ่านโมบายแบงก์กิ้งได้เลยอย่างง่าย
>>>> PG SLOT เกม สล็อต ออนไลน์ คลิก สล็อต <<<<
อ่านบทความน่าสนใจ ถัดไป >> ตรวจหวย แล้ว ขึ้นเงินได้ที่ไหนบ้าง
อัพเดทล่าสุด : 26 เมษายน 2021 8:59 น.